การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(Local Performance Assessment: LPA)
 
LPA ปี พ.ศ.2564
27. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) โดยการอบรมหรือฝึกอบรมบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดเอง
ข้อ URL คำอธิบาย
1. เอกสารการวิเคราะห์สภาพปัญหา และความต้องการของบุคลากรที่ผู้บริหารท้องถิ่นได้ลงนาม และประกาศเพื่อทราบ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
2. แผนพัฒนาบุคลากรประจำปี
3. มีโครงการในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2563
4. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
28. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) โดยการส่งบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เข้ารับการอบรมหรือฝึกอบรมกับหน่วยงานอื่น
ข้อ URL คำอธิบาย
1. มีโครงการในข้อบัญญัติ/เทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2563
2. คำสั่ง/อนุญาต/อนุมัติหนังสือส่งตัวบุคลากร
3. รายงานผลการดำเนินการที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ
29. การพัฒนาองค์ความรู้ (Knowledge Management) บุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ จากการอบรม การฝึกอบรมหรือสัมมนา ในปีงบประมาณ พ.ศ 2563
(เฉพาะข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นเท่านั้น)
ข้อ URL คำอธิบาย
1. แผนอัตรากำลังสามปีที่ใช้อยู่เป็นปัจจุบัน และอัตรากำลังที่มีผู้ครองตำแหน่งอยู่จริง (นับจำนวนข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นที่ครองตำแหน่งอยู่จริง)
2. คำสั่ง/อนุญาต/อนุมัติ/หนังสือส่งตัวบุคลากร เข้ารับการอบรม ฝึกอบรม หรือสัมมนากับหน่วยงานอื่น
3. เอกสารที่รับรองว่าผ่านการฝึกอบรม จากหน่วยที่จัด เช่น ใบประกาศ/วุฒิบัตร หนังสือรับรองหรืออื่น ๆ ปี พ.ศ. 2563
4. เอกสารรายงานสรุปผลการอบรม ฝึกอบรม หรือสัมมนาที่เสนอต่อผู้บริหารท้องถิ่น เพื่อทราบ
5. ตรวจสอบเฉพาะข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัด/พนักงานเทศบาล/พนักงานส่วนตำบลเท่านั้น
หน่วยที่ 2 ประสิทธิภาพของการบริหารทรัพยากรบุคคล
30. ระดับความสำเร็จของการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น
ข้อ URL คำอธิบาย
1. ประกาศหลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2. รายงานการประชุมมอบนโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น และหลักฐานอื่น
3. รายงานการประชุมชี้แจงของแต่ละส่วนราชการ และหลักฐานอื่น
4. สุ่มตรวจแบบประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นว่า มีการจัดทำหรือกำหนดผลสัมฤทธิ์ของงาน ตัวชี้วัดความสำเร็จ ด้วยวิธีการถ่ายทอดจากบนลงล่าง หรือกำหนดตัวชี้วัดเป็นระดับองค์กร ระดับส่วนราชการ และระดับรายบุคคล และกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนไว้อย่างชัดเจน ตั้งแต่ต้นรอบการประเมินหรือไม่ และให้มีการสุ่มตรวจแบบประเมินฯ ของแต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อย่างน้อยดังต่อไปนี้ ปลัด องค์การบริหารส่วนจังหวัด/เทศบาล/องค์การบริหารส่วนตำบล หัวหน้าส่วนราชการ 2 คน และข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่น 2 คน แล้วแต่กรณี
5. ตรวจสอบว่าแต่ละส่วนราชการมีคู่มือพจนานุกรมสมรรถนะ หรือหลักฐานอื่นเพื่อใช้ประกอบการประเมินสมรรถนะของข้าราชการหรือพนักงานส่วนท้องถิ่นในสังกัด
31. การประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษา ส่วนท้องถิ่น
ข้อ URL คำอธิบาย
1. การแต่งตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติงานมีการแต่งตั้งเป็นไปตามประกาศหลักเกณฑ์และเงื่อนไขเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทางการศึกษาส่วนท้องถิ่นหรือไม่
2. การใช้แบบประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทาง การศึกษาส่วนท้องถิ่น
   1) สายงานการสอน
   2) สายงานบริหารสถานศึกษา
   3) สายงานนิเทศการศึกษา
3. การแจ้งผลการประเมินผลการปฏิบัติงานข้าราชการหรือพนักงานครูและบุคลากรทาง การศึกษาส่วนท้องถิ่น
 
<< หน้าแรก...     2      3      4      5     (6)     7      8      9      10     ....หน้าสุดท้าย >> 38